పవిత్ర ఖురాన్ యొక్క భావార్థాల అనువాదం - తాయ్ అనువాదం - అల్ ఖుర్ఆన్ అల్ కరీమ్ యొక్క సంక్షిప్త తఫ్సీర్ వ్యాఖ్యానం

external-link copy
12 : 10

وَإِذَا مَسَّ ٱلۡإِنسَٰنَ ٱلضُّرُّ دَعَانَا لِجَنۢبِهِۦٓ أَوۡ قَاعِدًا أَوۡ قَآئِمٗا فَلَمَّا كَشَفۡنَا عَنۡهُ ضُرَّهُۥ مَرَّ كَأَن لَّمۡ يَدۡعُنَآ إِلَىٰ ضُرّٖ مَّسَّهُۥۚ كَذَٰلِكَ زُيِّنَ لِلۡمُسۡرِفِينَ مَا كَانُواْ يَعۡمَلُونَ

และเมื่อมนุษย์ที่ละเมิดขอบเขตของอัลลอฮฺได้ล้มป่วยหรือเกิดเรื่องร้ายแก่เขา เขาก็จะวิงวอนขอเราด้วยความอ่อนน้อมถ่อมตนในสภาพนอนตะแคง หรือนั่ง หรือยืนเพื่อให้เขารอดพ้นจากสิ่งอันตราย ครั้นเมื่อเราได้ตอบรับคำวิงวอนของเขา และเราได้ให้เขาพ้นอันตรายและกลับมาเป็นปกติแล้ว เขาก็จะเมินคล้ายกับว่าเขามิได้วิงวอนขอเราให้พ้นจากอันตรายที่ได้ประสบแก่เขา เหมือนกับที่ถูกทำให้สวยงามแก่ผู้ปฏิเสธที่หลงทางผิดอย่างต่อเนื่อง ถูกทำให้สวยงามสำหรับผู้ละเมิดขอบเขตของอัลลอฮฺด้วยการอธรรมในสิ่งที่พวกเขาปฏิเสธศรัทธาและทำชั่วโดยไม่ละทิ้งมันเลย info
التفاسير:
ఈ పేజీలోని వచనాల ద్వారా లభించే ప్రయోజనాలు:
• لطف الله عز وجل بعباده في عدم إجابة دعائهم على أنفسهم وأولادهم بالشر.
ความอ่อนโยนของอัลลอฮฺที่มีต่อบ่าวของพระองค์โดยไม่ตอบรับคำขอพรต่อตัวของพวกเขาเองและลูกๆพวกเขาด้วยสิ่งที่ไม่ดี info

• بيان حال الإنسان بالدعاء في الضراء والإعراض عند الرخاء والتحذير من الاتصاف بذلك.
อธิบายเกี่ยวกับสภาพมนุษย์ที่มีลักษณะด้วยการขอพรในยามทุกข์ยากและผินหลังให้ในยามสุขสบายและจงระมัดระวังบุคคลที่มีคุณลักษณะนี้ info

• هلاك الأمم السابقة كان سببه ارتكابهم المعاصي والظلم.
การทำลายล้างประชาชาติก่อนๆ ที่มาจากการทำชั่วและการอธรรมของพวกเขา info